รัสเซีย - อังกฤษแข่งขันกัน
หมวด เนื้อหาทั้งหมด
มอสโก
เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก
โปรแกรมทัวร์
ความรู้เกี่ยวกับสหพันธรัฐรัสเซีย
สถานทูตไทย ในต่างประเทศ
วลาดิเมียร์
ซูซดาล
ซากอร์ส
แผนที่และเส้นทางการท่องเที่ยว
เวลาและอุณหภูมิโลก
ของฝากจารัสเซีย
หนังสือเดินทาง ชนิดต่างๆ
ที่สุดของรัสเซีย
บุคคลสำคัญที่ควรรู้จัก
รวมภาพ ในแต่ละทริป
คุยกับ เว็บมาสเตอร์
16 ซาร์แห่งราชวงศ์โรมานอฟ
เที่ยวบินไปประเทศรัสเซีย
Webcam
การเดินทางสู่กรุงมอสโก
ราชนิกุลรัสเซียที่ควรรู้จัก
ไปรัสเซียต้องระวัง
ภาษารัสเซีย ???????
Golden Ring Cities
Russian Clips
ราชตระกูล จักรพงษ์
Russian TV
เอกอัครราชทูต
การก่อการร้ายในรัสเซีย
ไซบีเรีย
รัสเซีย : สงครามต่างๆ
พลซุ่มยิงของโซเวียต (รัสเซีย)
มรดกโลกของ รัสเซีย
มาเฟียรัสเซีย
หน่วยปฏิบัติการพิเศษ
รักร่วมเพศ ในรัสเซีย
คิง ไกเซอร์ ซาร์
เขี้ยว เล็บ รัสเซีย
อวกาศกับรัสเซีย
12 ประเทศในเครือรัฐเอกราช
วอดก้ารัสเซีย
เขตปกครองของรัสเซีย
เพชรรัสเซีย
เสด็จเยือนรัสเซีย
คาเวียร์
เครื่องดนตรีรัสเซีย
น้ำดื่ม (วาดะ)
ศิลปินรัสเซีย
Trans-siberian railway
ze
8
ภาพเว็บมาสเตอร์
เว็บมาสเตอร์ บ่น
ตามใจ ไปหลวงพระบาง
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เว็บไซต์นี้จะมีประโยชน์.. ไม่มากก็น้อย ขอบคุณครับ
เนิ้อหานี้อยู่ในหมวด :
รัสเซีย : สงครามต่างๆ
รัสเซีย - อังกฤษแข่งขันกัน
ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 อังกฤษและรัสเซียแข่งขันกันเพื่อเติมเต็มสุญญากาศแห่งอำนาจซึ่งหลงเหลือจากการเสื่อมถอยของจักรวรรดิออตโตมัน จักรวรรดิเปอร์เซีย และจักรวรรดิจีน ความขัดแย้งในยูเรเชียนี้ได้กลายมาเป็นที่รู้จักกันว่า "เกมอันยิ่งใหญ่"
ในส่วนที่อังกฤษกังวล ความพ่ายแพ้ของจักรวรรดิเปอร์เซียและตุรกีในสงครามรัสเซีย-เปอร์เซีย (ค.ศ. 1826-1828) และสงครามรัสเซีย-ตุรกี (ค.ศ. 1828-1829) ได้แสดงถึงความทะเยอทะยานและขีดความสามารถของจักรวรรดิ และได้สร้างความกลัวแก่อังกฤษว่าจะมีการรุกรานอินเดียทางบก ในปี ค.ศ. 1839 อังกฤษจึงรับมือกับความเคลื่อนไหวดังกล่าวโดยการรุกรานอัฟกานิสถาน แต่สงครามอังกฤษ-อัฟกานิสถานครั้งที่หนึ่ง ได้กลายมาเป็นหายนะสำหรับอังกฤษ
เมื่อรัสเซียรุกรานบอลข่านของตุรกีในปี ค.ศ. 1853 ความกลัวว่ารัสเซียจะมีภาวะครอบงำในเมดิเตอร์เรเนียนและตะวันออกกลาง ทำให้อังกฤษและฝรั่งเศสร่วมกันรุกรานไครเมียเพื่อที่จะทำลายขีดความสามารถของกองทัพเรือรัสเซีย สงครามไครเมีย (ค.ศ. 1854-1856) ที่เกิดขึ้นในเวลาต่อมา ได้นำมาซึ่งรูปแบบการรบสมัยใหม่ และเป็นเพียงสงครามในระดับโลกซึ่งเป็นเพียงการรบครั้งเดียวระหว่างอังกฤษและอำนาจจักรวรรดิอีกแห่งหนึ่งระหว่าง แพกซ์บริตานิกา ยุติลงด้วยความปราชัยครั้งใหญ่ของรัสเซีย
ในขณะที่สถานการณ์ในเอเชียกลางยังไม่มีทีท่าว่าจะยุติหลังเวลาผ่านไปสองทศวรรษ โดยการผนวกบาลูจิสถาน ในปี ค.ศ. 1876 และการผนวกคีร์กีซเทีย คาซัคสถาน และเติร์กเมนิสถานของรัสเซีย เป็นช่วงเวลาที่ปรากฏว่าสงครามเป็นสิ่งที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ แต่ทั้งสองชาติก็ได้ร่วมลงนามในข้อตกลงเพื่อกำหนดเขตอิทธิพลของทั้งสองในภูมิภาคในปี ค.ศ. 1878 และสาระที่สำคัญทั้งหมดในปี ค.ศ. 1907 ด้วยการลงนามในภาคีอังกฤษ-รัสเซีย การทำลายกองทัพเรือรัสเซียที่ยุทธนาวีพอร์ตอาเธอร์ ระหว่างสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น ในปี ค.ศ. 1904-1905 ได้จำกัดภัยคุกคามของรัสเซียต่ออังกฤษ
อนุสัญญาอังกฤษ-รัสเซีย ค.ศ. 1907
ลงนามเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม ค.ศ. 1907 ในเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก รัสเซีย ได้ทำให้ความสัมพันธ์ที่กำลังเผชิญหน้ากันระหว่างอังกฤษกับรัสเซียลดลงโดยการกำหนดพรมแดนร่วมกันซึ่งระบุการควบคุมของทั้งสองในเปอร์เซีย อัฟกานิสถาน และทิเบต ข้อตกลงดังกล่าวเสมือนว่าได้ยุติการต่อสู้เพื่อแย่งชิงอำนาจอันยาวนานซึ่งแผ่ขยายไปตลอดทั่วทั้งภูมิภาคเอเชียกลางที่ยังด้อยพัฒนา
แม้ว่าจักรวรรดิอังกฤษและจักรวรรดิรัสเซียจะเคยประสบกับความขัดแย้งขนาดใหญ่เมื่อหลายร้อยปีก่อน ในความขัดแย้งซึ่งเรียกว่า "เกมอันยิ่งใหญ่" ได้ซ้ำเติมสถานการณ์ในขอบเขตจนกระทั่งหนทางแก้ไขปัญหาเริ่มปรากฎในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลายคนเชื่อว่าการเจรจาดังกล่าวมีจุดประสงค์ในการสร้างพันธมิตรทางการเมืองด้วยความกลัวในแสงยานุภาพและอิทธิพลที่เพิ่มมากขึ้นของเยอรมนี ผลจากข้อตกลงอังกฤษ-รัสเซีย ทำให้โอกาสในการปกครองของอิหร่านถูกทำลาย
แนวคิดในการฟื้นฟูรัฐอิหร่านมิใช่สิ่งที่จักรวรรดิทั้งสองนี้สำนึกเลย; ทั้งสองได้รับเสถียรภาพและการควบคุมในเปอร์เซีย และวางแผนที่จะรักษาสภาวะเช่นนี้ต่อไป โดยรวมแล้ว อนุสัญญาดังกล่าวได้แสดงให้เห็นถึงท่าทีซึ่งได้รับการคำนวณอย่างระมัดระวังของมหาอำนาจแต่ละฝ่ายในส่วนที่ตนเลือกในการตีราคาของพันธมิตรอันทรงพลังมากกว่าการควบคุมอย่างเบ็ดเสร็จเหนือพื้นที่
เกมอันยิ่งใหญ่
ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 อังกฤษมีอำนาจปกครองอินเดียอย่างมั่นคงและมองว่าอินเดียเป็นอาณานิคมที่สำคัญที่สุดของตน อย่างไรก็ตาม รัสเซียเองก็ได้แสดงแสงยานุภาพโดยการขยายตัวลงมาทางใต้และตะวันออกสู่เอเชียกลางและรุกคืบเข้าสู่อินเดีย "เกมอันยิ่งใหญ่" หมายความถึง การแข่งขันในการควบคุมดนแดนและการควบคุมทางการเมืองในเอเชียกลางระหว่างอังกฤษและรัสเซีย
ดินแดนที่อยู่ระหว่างอินเดียและดินแดนส่วนที่รัสเซียปกครอง ได้แก่ เปอร์เซีย อัฟกานิสถาน และทิเบต เป็นความปรารถนาของจักรวรรดิทั้งสองอย่างมาก อังกฤษเกรงว่า การเผชิญหน้ากับรัสเซียอาจทำให้ชาวอินเดียมีความหวังที่จะก่อการกบฎ อันเป็นความท้าทายต่อการปกครองอาณานิคมของอังกฤษ ในความสำคัญ คือ อังกฤษมีเป้าหมายที่จะกัน "อิทธิพลของรัสเซียจากชายแดนอินเดียของอังกฤษ" ในอีกทางหนึ่ง รัสเซียเองก็ต้องการดินแดนเพิ่มเติมทางพรมแดนตอนใต้ คือ อัฟกานิสถาน และกลัวการขยายดินแดนของอังกฤษมายังอาณานิคมของตน
ยิ่งไปกว่านั้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ได้เกิดประเด็นปัญหาใหม่ขึ้น และได้ส่งผลกระทบอย่างมากต่อทางการอังกฤษ เมื่อ จอร์จ นาทาเนียล เคอร์ซัน กระตุ้นให้รักษาความมั่นคงของน้ำมันในตะวันออกกลางของอังกฤษ นี่เป็นเพียงบางส่วนของประเด็นเท่านั้น และทำให้อังกฤษวางตัวเป็นกลางทางการทูตต่อทุกท่าทีของรัสเซีย การใช้ยุทธวิธีที่คล้ายคลึงกับการรวมเศรษฐกิจของตนเข้ากับอิหร่าน อังกฤษได้รวบรวมทิเบตเข้าสู่การปกครองโดยการรุกรานครั้งแรกในปี ค.ศ. 1903 จากนั้นได้ทำให้ทิเบตเป็นคู่ค้า ซึ่งได้ทำให้ทิเบตแบกภาระหนี้มหาศาลและได้ทำให้อังกฤษมีอำนาจเพิ่มขึ้นอย่างมาก
ถึงแม้ว่าชาติมหาอำนาจทั้งสองต่างก็หลีกเลี่ยงสงครามอย่างเปิดเผย "เกมอันยิ่งใหญ่" ก็ได้สร้างความเสียหาทางการเมืองแก่อังกฤษและรัสเซียไม่มากก็น้อย อย่างไรก็ตาม จากความรุ่งเรืองของเยอรมนีในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ทำให้มหาอำนาจทั้งสองพบว่าจะเป็นประโยชน์แก่ตนที่จะตกลงปรองดองและทำให้เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ ความขัดแย้งอันตึงเครียดอย่างเช่น "เกมอันยิ่งใหญ่" ได้กีดขวางฝ่ายไตรภาคีในการเผชิญหน้ากับเยอรมนีและหลังได้รับชัยชนะในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
ส่งหน้านี้ให้เพื่อน
13-06-2011
Views : 4577
หมวด
รัสเซีย : สงครามต่างๆ : 39 หัวข้อ
01-05-2011
สงครามเย็น Cool War
01-05-2011
รัสเซีย เข้าสู่สงครามโลกครั้งที่ 2
01-05-2011
สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น Russo Japanese War
01-05-2011
สงครามไครเมีย พ.ศ. 2396-2399
01-05-2011
สงครามรัสเซีย - ฟินแลนด์ (สงครามฤดูหนาว)
01-05-2011
รัสเซีย : ชาติมหาอำนาจ
01-05-2011
มหาสงครามเหนือ
01-05-2011
ยุทธการโปลตาวา
01-05-2011
การรบแห่งมุกเดน (ส่วนหนึ่งของ สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น)
02-05-2011
สงครามรัสเซีย-จอร์เจีย (ตอนที่ 1)
02-05-2011
เมื่อเยอรมันบุกรัสเซีย (สงครามโลกครั้งที่ 2)
02-05-2011
สงครามเชชเนีย ครั้งที่ 2
02-05-2011
นโปเลียน บุกรัสเซีย
04-05-2011
ยุทธการสตาลินกราด
06-05-2011
สงครามโลกครั้งที่ 2 รัสเซียและเยอรมัน (WWII Russia + Germans)
08-05-2011
สงครามอัฟกานิสถาน - โซเวียต ในช่วงปี 1978-1992
08-05-2011
สงครามกลางเมืองรัสเซีย ( Russian Civil War 1917-1923)
08-05-2011
รัสเซีย : สงครามโลกครั้งที่ 1
09-05-2011
การปฏิวัติรัสเซีย
10-05-2011
กองทัพแดงบุก - กรุงเบอร์ลิน (สงครามโลกครั้งที่ 2 )
10-05-2011
กองทัพแดง (The Red Army)
23-05-2011
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ บุกรัสเซีย
13-06-2011
รัสเซีย - อังกฤษแข่งขันกัน
20-06-2011
สนธิสัญญาวอร์ซอ (Warsaw Pact
20-06-2011
กำแพงเบอร์ลิน (Berlin Wall)
26-06-2011
สงคราม คาบสมุทรบอลข่าน
05-12-2011
ถล่มเกาะอังกฤษไม่ได้ บ่ายหน้าสู่รัสเซีย
05-12-2011
ปฏิบัติการบาร์บารอสซา
10-02-2012
จอมพล ผู้พิชิต ฮิตเลอร์
21-03-2012
กรณีพิพาทรัสเซีย-ญี่ปุ่น
21-03-2012
สนธิสัญญา Portsmouth
06-05-2012
สมรภูมิบ้านร่มเกล้า (สงครามที่ถูกลืม)
09-05-2012
เส้นขนานที่ 38 องศา
09-05-2012
สิ้นสุดสงครามเย็น
09-05-2012
สาเหตุของสงครามเย็น
09-05-2012
กรณีพิพาทของ จีนกับรัสเซีย
12-05-2012
วิกฤตการณ์ ขีปนาวุธคิวบา
15-11-2012
สนธิสัญญาเบรสต์-ลิตอฟค์
26-07-2014
เกออร์กี จูคอฟ
๏ปฟ
เวลาท้องถิ่น
กรุงเทพฯ
มอสโก
ลอนดอน
โรม
ฮ่องกง
โตเกียว
ซิดนีย์
ฟิจิ
ฮาวาย
ซานฟรานซิสโก
นิวยอร์ค
44.192.95.161 = UNITED STATES Wednesday 09th October 2024
ส่งหน้านี้ให้เพื่อน
น่าสนใจก่อนไปรัสเซีย
-
พระเจ้าปีเตอร์ที่ 1 มหาราช
-
ค้นหาคำสาปแห่งราชวงศ์โรมานอฟ
-
พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2
-
ราชวงค์โรมานอฟ
-
จักรพรรดินี แคทเธอรีนที่ 2 มหาราช
-
พระบรมราชินีนาถ เสด็จเยือนรัสเซีย
-
ความสัมพันธ์ไทย - รัสเซีย
อยากให้อ่าน
-
กรุงมอสโก
-
นครเซ็นต์ปีเตอร์สเบิร์ก
-
เมืองเขตโกล์เด้นริง
-
รถไฟทรานส์ไซบีเรีย
-
เมืองวลาดิเมียร์
-
เมืองซากอร์ส
-
ตุ๊กตาแม่ลูกดก
ชอบอ่านกันมาก
-
สถาปัตยกรรมของรัสเซีย ที่เราควรรู้จัก
-
ชิ้นส่วนอวัยวะเพศของรัสปูติน
-
แฟเบร์เช่ (Faberge) งานศิลป์ สุดอลังการ
-
รายพระนามสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งรัสเซีย
-
จักรพรรดินีนาถแคทเธอรีนที่ 2 มหาราช
-
Trans-Siberian Railway
-
วิหารภายในพระราชวังเครมลิน
เรื่องน่ารู้
-
ว้อดก้ารัสเซีย
-
เพชรรัสเซีย
-
รัสเซียนออร์โทดอกซ์ ที่กรุงเทพฯ
-
ดู RT TV online (eng)
-
ปีเตอร์ คาร์ล ฟาแบร์เช
-
เชชเนีย
-
ชาวเกย์ที่รัสเซีย
มิตรภาพสองแผ่นดิน
-
สายสัมพันธ์สองแผ่นดิน
-
พระพุทธเจ้าหลวงเสด็จเยือนรัสเซีย
-
เจ้าฟ้าจักรพงษภูวนารถ
-
พระพี่นางเสด็จเยือนรัสเซีย
-
สมเด็จพระเทพ เสด็จเยือนรัสเซีย
-
สมเด็จพระราชินี เสด็จเยือนรัสเซีย
-
เจ้าฟ้าหญิงเสด็จเยือนรัสเซีย
เครือรัฐเอกราช 12 ประเทศ
อาร์เมเนีย (Armenia)
พศ. 2534
อาร์เซอร์ไบจาน (Azerbaijan)
พศ. 2536
เบลารุส (Belarus)
พศ. 2534
จอร์เจีย (Georgia)
พศ. 2536-2551
คาซัคสถาน (Kazakhstan)
พศ. 2534
คีร์กิซสถาน (Kyrgyzstan)
พศ. 2534
มอลโดวา (Moldova)
พศ. 2534
รัสเซีย (Russia)
พศ. 2534
ทาจิกิสถาน (Tajikistan)
พศ. 2534
เติร์กเมนิสถาน (Turkmenistan)
พศ. 2548
ยูเครน (Ukraine)
พศ. 2534
อุซเบกิสถาน (Uzbekistan)
พศ. 2534
อาร์ตนานา สตูดิโอ และ เดอะ ไดโนเสาร์ อาร์ต แกลเลอรี่
บ้านเลขที่ 9, 48 หมู่ 12 บ้านหนองซำ ต.น้ำอ้อม อ.ค้อวัง จ.ยโสธร 35160
https://www.artnana.com